Menu
About
Why Us
PDPA
PDPA Consultant
DPO Outsource
PDPA Software solutions
PDPA Advisory
Cyber Security
Enterprise Architecture
Data Governance
Vulnerability Assessment
Cybersecurity Audit
Penetration Test
AI Management
AI Training and Education
ISO Implementation Consulting for AI
AI Strategy and Implementation
AI Customization Solutions
ISO Compliance
ISO/IEC 27001:2022
ISO/IEC 27701:2019
ISO/IEC 29100:2011
ISO/IEC 20000-1:2018
ISO/IEC 42001:2023
Knowledge
Privacy & Policy
Contact
หน้าแรก
Knowledge
Knowledge
ย้อนกลับ
หน้าแรก
Knowledge
หมวดหมู่ทั้งหมด
Knowledge
ค้นหา
Knowledge
46 รายการ
ผู้ที่มีความประสงค์ร้ายจะเข้ามาคุมระบบคอมพ์ของเราได้ด้วยวิธีใดบ้าง?
ผู้ที่มีความประสงค์ร้ายจะเข้ามาคุมระบบคอมพ์ของเราได้ด้วยวิธีใดบ้าง?
ผู้ที่มีความประสงค์ร้ายจะเข้ามาคุมระบบคอมพ์ของเราได้ด้วยวิธีใดบ้าง? 1. Malware เป็นหนึ่งในภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่พบได้บ่อยที่สุด โดยเป็นการโจมตีโดยชุดคำสั่งที่ไม่พึงประสงค์ สร้างโดยอาชญากรไซเบอร์ หรือแฮกเกอร์ ซึ่งมักจะแพร่กระจายผ่านไฟล์แนบอีเมลหรือการดาวน์โหลดที่ดูเหมือนจะถูกต้องตามกฎหมาย โดยอาชญากรไซเบอร์จะใช้เพื่อสร้างรายได้หรือเป็นการโจมตีที่มีแรงจูงใจทางการเมือง เป็นต้น 2. SQL injection เป็นการคุกคามทางไซเบอร์ที่ใช้ในการควบคุมและขโมยข้อมูลจากฐานข้อมูล โดยใช้ช่องโหว่ในแอพลิเคชันที่มีการใช้ข้อมูล เพื่อแทรกโค้ดที่เป็นอันตรายลงในฐานข้อมูลผ่านคำสั่ง SQL ซึ่งจะทำให้พวกเขาเข้าถึงข้อมูลสำคัญหรือข้อมูลละเอียดอ่อนที่มีอยู่ในฐานข้อมูลได้ 3. Phishing เป็นการที่อาชญากรทางไซเบอร์กำหนดเป้าหมายจากอีเมลที่ดูเหมือนจะมาจากบริษัทที่ถูกต้องตามกฎหมาย เพื่อขอข้อมูลที่ละเอียดอ่อน โดยมักจะเป็นการหลอกให้ส่งมอบข้อมูลบัตรเครดิตหรือข้อมูลส่วนบุคคลอื่น ๆ 4. Man-in-the-middle attack เป็นภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่มีการสกัดกั้นการสื่อสารระหว่างบุคคลสองคนเพื่อขโมยข้อมูล เช่น บนเครือข่าย WiFi ที่ไม่ปลอดภัย อาจมีการดักจับข้อมูลที่ส่งผ่านจากอุปกรณ์และเครือข่ายของเหยื่อ 5. Denial-of-service attack เป็นการโจมตีโดยมีจุดมุ่งหมายทำให้ระบบไม่สามารถให้บริการได้ ไม่ว่าจะเป็นการโจมตีที่เครือข่ายหรือแอพพลิเคชั่น
อ่านต่อ
ISO 27001 และความสำคัญ
ISO 27001 และความสำคัญ
มาตรฐานตัวนี้ประกาศใช้เมื่อปี 2005 เป็นมาตรฐานถูกเขียนขึ้นโดยผู้เชี่ยวชาญของ หน่วยงาน ISO (The International Organization for Standardization) กับหน่วยงาน IEC (The International Electrotechnical Commission) ร่วมกับองค์กรระหว่างประเทศอื่นๆ อีกหลายองค์กร ทั้งองค์กรรัฐบาลและองค์กรอิสระต่างๆ โดยมีรากฐานมาจากประเทศ
อ่านต่อ
มารู้จัก ‘Cyber Security’ กัน!
มารู้จัก ‘Cyber Security’ กัน!
Cyber Security คือ แนวทางปฏิบัติ ที่ถูกออกแบบมาเพื่อปกป้องเครือข่าย, อุปกรณ์, โปรแกรม และข้อมูลจากการโจมตีที่ทำให้เกิดความเสียหาย หรือการเข้าถึงจากบุคคลที่สามโดยไม่ได้รับอนุญาต โดยสามารถแบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ได้ เช่น
อ่านต่อ
Firewall คืออะไร ? สำคัญหรือเปล่านะ ?
Firewall คืออะไร ? สำคัญหรือเปล่านะ ?
Firewall คือ ซอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์ บนระบบเครือข่าย ที่ทำหน้าที่ตรวจสอบข้อมูลที่ผ่านเข้า-ออกระบบเครือข่าย จะมีการกำหนดกฎ เพื่อควบคุมการเข้า-ออกของข้อมูล เป็นการป้องกันว่าข้อมูลที่จะส่งผ่านนั้นมีความปลอดภัยหรือไม่ โดยเปรียบเทียบกับกฎต่างๆที่ทางผู้ใช้งานได้กำหนดไว้ แต่ก็ขึ้นกับการตัดสินใจของผู้ใช้งานเองด้วย ถ้าหากข้อมูลไม่ปลอดภัยได้แต่รับการอนุญาตจากผู้ใช้งาน Firewall ก็จะปล่อยให้ผ่านเข้าไปได้
อ่านต่อ
ทำไม HR ถึงสำคัญใน PDPA ?
ทำไม HR ถึงสำคัญใน PDPA ?
เนื่องจาก HR มีข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานจำนวนมาก ที่ต้องนำมาจัดการและเก็บรวบรวมไว้ ทำให้ต้องมีการปรับเปลี่ยนการดำเนินการเพื่อให้สอดคล้องกับพ.ร.บ. ตั้งแต่ขั้นตอนการขอ ‘ความยินยอม’ จากเจ้าของข้อมูล ซึ่งมีความจำเป็นอย่างมาก ในการนำข้อมูลของผู้สมัครงานหรือพนักงานไปดำเนินการใด ๆ อีกทั้งความยินยอมในการจัดเก็บรูปภาพ ข้อมูลบัตรต่าง ๆ รวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล เช่น ประกันสังคม การลาป่วย เป็นต้น รวมถึงเมื่อพนักงานลาออก/ถูกไล่ออก จะต้องมีมาตรการรักษาข้อมูล เพื่อไม่ให้เกิดการโจรกรรมข้อมูล หลุด หรือถูกเผยแพร่ออกไป การกำหนดระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูล และวิธีการในการทำลายข้อมูลเมื่อไม่ได้ใช้ข้อมูลหรือครบกำหนดระยะเวลาในการจัดเก็บ สิ่งที่ HR ควรคำนึงถึง ได้แก่ 1. HR จะต้องขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลเท่านั้น ห้ามเก็บข้อมูลจากแหล่งอื่น และหากมีการส่งต่อข้อมูลของผู้สมัครงาน/พนักงาน จะต้องมีการแจ้งเจ้าของข้อมูลก่อนเสมอ 2. HR ควรมีการจัดเก็บข้อมูลที่จำเป็นเท่านั้น 3. HR จะต้องมีนโยบายในการเก็บรักษาและมาตรการในการทำลายข้อมูลส่วนบุคคลที่ชัดเจน 4. หากเกิดเหตุละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล จะต้องแจ้งเหตุให้เจ้าของข้อมูลทราบภายใน 72 ชั่วโมง
อ่านต่อ
Cookie คืออะไร ?
Cookie คืออะไร ?
Cookie เป็นไฟล์ข้อมูลขนาดเล็กที่ได้จากการเชื่อมต่อระหว่างเว็บไซต์และคอมพิวเตอร์ เป็นเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1994 โดยคุกกี้มีหน้าที่จดจำข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อตัวเว็บไซต์ ไม่ว่าจะเป็นตำแหน่งโลเคชั่นของผู้ใช้งาน หรือข้อมูลที่ผู้ใช้งานสนใจเพื่อนำไปใช้ทำการตลาดโฆษณษแบบเจาะกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งถือเป็นการจัดเก็บและใช้ข้อมูลส่วนบุคคลเช่นเดียวกัน ดังนั้นจึงต้องมีการขอความยินยอม (Consent) จากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเสมอ โดยคุกกี้ถูกแบ่งย่อยออกเป็นหลายประเภท ดังนี้ 1. Session cookies เป็นหน่วยความจำชั่วคราว ซึ่งจะบันทึกความเคลื่อนไหวที่เกิดบนหน้าเว็บไซต์ 2. First-Party Cookies เป็นคุกกี้ที่ทำหนน้าเหมือนหน่วยความจำระยะยาวของเว็บไซต์ ไม่ว่าจะเป็นการตั้งค่าเมนูบนเว็บ, ธีม, ภาษาที่เลือก หรือ Bookmark เป็นต้น 3. Third-Party Cookies ทำหน้าที่แค่คอยติดตามความเคลื่อนไหว ดูพฤติกรรมการออนไลน์ และลักษณะการใช้จ่ายของเรา โดยมักนำมาใช้ในการทำการตลาด เพื่อเพิ่มยอดขายและยอดเพจวิว 4. Secure Cookies เป็นคุกกี้ที่ช่วยปกป้องข้อมูลสำคัญของเราไม่ให้ถูกดักระหว่างที่มีการรับส่งข้อมูล 5. HTTP-Only Cookies มักจะทำงานร่วมกับ Sucure Cookies เพื่อป้องกันการถูกโจมตีด้วยวิธี Cross-site scripting 6. Flash Cookies เป็นคุกกี้ท่าที่เปลี่ยนแปลงข้อมูลของผู้ใช้ได้ จึงมักถูกนำมาใช้ในทางที่ผิด 7. Zombie Cookies เป็นคุกกี้ที่สามารถสร้างตัวเองขึ้นมาใหม่ได้ (เมื่อ Back up) 8. Same-site Cookies เป็นคุกกี้แบบใหม่ ทำให้มีความปลอดภัยค่อนข้างมาก โดยจะมีการควบคุมการรับส่งคุกกี้ระหว่างเว็บไซต์ต่างๆ
อ่านต่อ
«
1
...
3
4
5
6
7
8
»
ไปหน้า :
ตกลง
(ทั้งหมด 6 รายการ)
×
Line
×
Tel
0647141199
Another Service
Cybersecurity Audit
Cybersecurity Audit
ภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่มีความรุนแรงและซับซ้อนขึ้นอย่างมาก PDPA Plus จึงมีบริการตรวจสอบภายในด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ตามพระราชบัญญัติ การรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562 และพระราชบัญญัติข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 เพื่อป้องกัน การถูกโจมตีทางไซเบอร์ และเพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายที่มีการประกาศใช้
3483 ผู้เข้าชม
Data Governance
Data Governance
Data Governance คือ การวางนโยบายในการกำกับดูแลข้อมูล โดยจะต้องมีการกำหนดบทบาทหน้าที่ วางกระบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลตาม Life-cycle และกำหนดเทคโนโลยีที่เหมาะสมที่จะใช้เพื่อบริหารข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลทั่วไป หรือ ข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อมีการกำกับดูแลข้อมูลที่ดี
2678 ผู้เข้าชม
Enterprise Architecture
Enterprise Architecture
เพื่อสร้างกรอบแนวทางในการพิจารณาเปลี่ยนแปลงการทำงานโดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องมีการจัดทำสถาปัตยกรรมองค์กร (EA)
10379 ผู้เข้าชม
Penetration Testing
Penetration Testing
Penetration Testing
3190 ผู้เข้าชม
Vulnerability Assessment
Vulnerability Assessment
Vulnerability Assessment
4549 ผู้เข้าชม
บริการเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO) Outsource
บริการเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO) Outsource
เราให้บริการ DPO จากผู้ให้บริการภายนอก (outsourced DPO services) ที่ผ่านการฝึกอบรมอย่างเข้มข้น เข้าใจธุรกิจ มีประสบการณ์ และ สามารถช่วยองค์กรจัดการด้านข้อมูลส่วนบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพ และ ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น
5495 ผู้เข้าชม
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับ
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com